PULMONARY HYPERTENSION

Last updated: 6 ส.ค. 2567  |  3121 จำนวนผู้เข้าชม  | 

PULMONARY HYPERTENSION

PULMONARY HYPERTENSION


    คือ ความดันสูงในเส้นเลือดในปอดและ หัวใจห้องขวา เกดิจากลิ่มเลือดเล็ก ๆ เข้าไปอุด ทำให้หัวใจปั๊มเลือดเข้าปอดไม่ได้  ส่งผลให้หัวใจทำงานหนักและล้มเหลวในที่สุด อีกหนึ่งสาเหตุเกิด PH คือ โรคลิ่มเลือดอุดตัน หรือthromboembolic disease (TED) เคลื่อนที่ไปอุดที่หลอดเลือดในปอด

สาเหตุ 
  สาเหตุหนึ่งคือ IPHหรือความดันสูงในหลอดเลือดไม่ทราบสาเหตุ อาจถ่ายทอดพันธุกรรม หรือเป็นผลจากโรคอื่น ๆ ที่เกดิขึ้นได้มากกว่า เช่น ลิ่มเลือดจุกปอด ถุงลมโป่งพอง โรคหัวใจ  โรคหยุดหายใจขณะหลับ โรคตับ โรคเอดส์

อาการ
  คนที่มีความรุนแรงเล็กน้อยถึงปานกลางจะไม่แสดงอาการ แต่ถ้ามีอาการจะเกิด หายใจสั้น เหนื่อย มึนหัว เป็นลม บวมที่เข่า เท้า ปวดท้อง อาจมีใจสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ หายใจวี๊ด  ปากและผิวหนังเขียว  ไอเป็นเลือด บางคนไม่มีอการหากอยู่ในช่วงเริ่มต้น

การวินิจฉัย 
  การทำ ECHO และ การทำงานของปอด CT scan  ใส่สายสวนหัวใจ

การรักษา

  ค่อนข้างซับซ้อน ใช้กลุ่มยาเช่น วาฟาริน ช่วยสลายลิ่มเลือด  ยาขยายหลอดเลือด  ยา channel blockers, diuretics, และออกซิเจน หากไม่สำเร็จอาจต้องทำการเปลี่ยนถ่ายหัวใจและปอด ซึ่งการรักษาPE เป้าหมายป้องกันการเป็นลิ่มเลือดอุดตันในปอด ซึ่งวาฟารินใช้ป้องกันการเป็นลิ่ม ห รือ ใช้ IVC ฟิลเตอร์หากใช้ละลายลิ่มเลือดไม่ได้



    สิ่งที่ควรทำ

ควรพักผ่อนให้เพียงพอหรือออกกำลังที่เหมาะกับคุณ

ควรหลีกเลี่ยงการเดินทางไปที่สูง

ควรกินอาหารไขมันต่ำ โซเดียมต่ำ

ควรลดความเครียดด้วยการทำโยคะ นั่งสมาธิ แช่น้ำอุ่น ฟังเพลง


   ห้ามทำ

ห้ามสูบบุหรี่

 ห้ามหยุดยาหากแพทย์ไม่ได้สั่ง

 ห้ามกินยาคุม ทำให้เกิด ลิ่มได้

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้