Last updated: 6 ส.ค. 2567 | 3430 จำนวนผู้เข้าชม |
ไส้เลื่อน
ส่วนหนึ่งของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่ยื่นออกมาอยู่ในตำแหน่งที่ไม่ถูกต้อง มันถูกยื่นผ่านผนังหน้าท้องที่เปิดออกหรืออ่อนแรง จะเห็นเป็นก้อนๆเป็นลำๆเรียกว่าไส้เลื่อน เกิดขึ้นบ่อยในเด็กและทารก คือไส้เลื่อนยื่นออกมาบริเวณขาหนีบ และบริเวณใกล้สะดือไส้เลื่อนแบบ umbilical เด็กที่คลอดก่อนกำหนด หรือเด็กที่เป็นโรค ไส้เลื่อนบริเวณ inguinalเกิดในชายมากกว่าหญิง ไส้เลื่อนcongenital diapharmatic และ hiatal มักเป็นไส้เลื่อนที่เกิดในร่างกาย ถ้าไส้เลื่อนออกมาเมื่อเบ่ง ไส้ก็ยังสามารถกลับเข้าไปปกติได้ ถ้าเนื้อเยื่อเปิดเป็นถุงไม่สามารถดึงกลับมาได้ ไส้เลื่อนที่อันตรายคือ strangulateไส้จะโดนรัดและทำให้ขาดเลือดและเนื้อเยื่อตายได้
สาเหตุ
ไส้เลื่อนแบบindirect จะพบตอนเกิด เนื่องจากการพัฒนาที่ผิดปกติ ไส้เลื่อน direct hernia เกิดหลังจากที่เด็กเกิดมาแล้ว ไส้เลื่อนแบบumbilical เกิดจาก umbilical ringไม่ปิด
อาการ
อาการของไส้เลื่อนinguinal และumbilical มีอาากรบวมแต่ไม่ปวด ซึ่งออกจากตำแหน่งปกติ จะเห็นชัดเมื่อร้องไห้ เบ่ง ไอ หรือยืน ไส้เลื่อน inguinal ในเด็กทำให้อัณฑะบวมโต ส่วนในเด็กผู้หญิง เนื้อเยื่อบริเวณช่องคลอดบวมขึ้น ไส้เลื่อนinternal จะเกิดภายในร่างกายไม่พบอาการใดๆ จะเพียงรู้สึกอยากอาเจียน และ heartburn ไส้เลื่อนแบบincarcerated จะรู้สึกกดเจ็บ แน่นๆ เป็นก้อน ปวด อาเจียนืท้องผูก รู้สึกระคาายเคือง ส่วนไส้เลื่อนstrangulate ทำให้มีไข้แลบวมแดง อักเสบ และปวดทรมานมาก
การวินิจฉัย
แพทย์ดูประวัติการรักษา และการตรวจร่างกายในท่านอนลงหรือยืน ตรวจเลือด ทำlaparoscopyอาจจะเป้นต้องทำ ทำ เอกซเรย์ หรือ อัลตร้าซาว
การรักษา
แล้วแต่ชนิดของไส้เลื่อน ไส้เลือนแบบumbilical ไม่ค่อยรู้สึกสบายนักแต่สามารถปิดเองได้ในอายุ 1หรือ 2ปี การแพทย์สามารถดันกลับเข้าไปได้ แต่แนะนำให้รอและสังเกตุอาการ การผ่าตัดเป็นสิ่งจำเป็นหากตัวไส้เลื่อนไม่สามารถดันกลับเข้าไปได้ในอายุ 4หรือ5ปีหรือไปอุดตันส่วนอื่นๆของลำไส้
สิ่งที่ควรทำ
ควรสังเกตุขนาดของไส้เลื่อนว่ามีขนาดเล็กลงภายในสองสามปีแรกหรือไม่
ควรให้เด็กกินยาแก้ปวดตามแพทย์สั่งหลังผ่าตัด
ควรดูแลเด็กหลังผ่าตัดจากการติดเชื้อทางเดินหายใจ ซึ่งอาจจะทำให้ไอ จาม ส่งผลให้แผลแตกได้
ควรมีความรู้ เกี่ยวไส้เลื่อนติดค้างเพื่อจะรีบหาวิธีทางรักษา
ควรดูแลรักษาทำความสะอาดแผลให้แห้งและหายดี งดให้เด็กทำกิจกรรมที่ใช้แรงไปก่อน
ห้ามทำ
ห้ามพลาดนัดหมอ
19 พ.ค. 2564
19 พ.ค. 2564
12 มี.ค. 2564
26 พ.ค. 2565